Posted on: March 22, 2022 Posted by: Wanda Palmer Comments: 0
อัลไซเมอร์

อัลไซเมอร์ นั้นเป็นอีกหนึ่งในโรคที่สามารถเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุได้อย่างง่ายดาย ยิ่งอายุมากขึ้นนั้น ก็จะยิ่งทำให้เซลล์หรือ อวัยวะในร่างกายของเรานั้นเสื่อมสภาพด้วยเช่นกัน  ซึ่งหนึ่งในโรคที่สำคัญที่อาจจะเกิดขึ้นได้สำหรับผู้สูงอายุนั้นคือ “อัลไซเมอร์” ก็เป็นอีกหนึ่งในโรคที่เกิดขึ้นได้ง่ายด้วยเช่นกัน  และ หลายคนนั้นอาจจะไม่ได้มีความเข้าใจในเรื่องของ การดูแลผู้เป็นโรคอัลไซเมอร์ ดังนั้นในบทความนี้เราจะมาทำความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยอัลไซเมอร์กันดีกว่านะครับ ว่าจะมีเรื่องอะไรที่จะต้องทำความเข้าใจกันบ้าง  

ทำความเข้าใจ โรคอัลไซเมอร์ 

อย่างแรกเลยนั้นคือในเรื่อง “ความเข้าใจ” นั้นเป็นสิ่งสำคัญอย่างมาก เพราะว่าคนที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ นั้นจะมีอาการที่หลากหลายขึ้นอยู่กับบุคล แต่ว่าหากว่าอยู่ในระยะที่ 2-3 นั้นอาการคือจะเริ่มมีอาการหลง ๆ ลืม ๆ บางคนมีอาการคุยคนเดียว ลืมคนสำคัญ ครอบครัว และ บางคนนั้นจะมีอาการระแวง หรือ เห็นภาพหลอน  และต้องทำความเข้าใจด้วยเช่นกัน ว่าผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นอัลไซเมอร์ นั้นจะไม่สามารถที่จะรักษาได้ด้วยเช่นกัน  

อธิบายถึงความเข้าใจ  

ในเรื่องต่อมานั้นคือในเรื่องของ “ความเข้าใจ”  เพราะว่าสิ่งที่สำคัญนั้นคือในเรื่องของ การอธิบายให้ผู้ป่วยนั้นทราบถึงสุขภาพที่เปลี่ยนไปของผู้ป่วยไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย และ ด้านจิตใจ ให้รับรู้ และ เข้าใจได้ตั้งแต่อาการยังไม่รุนแรงนัก เพื่อที่จะให้ผู้ป่วยนั้นเตรียมความพร้อมที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลง พร้อมทั้งให้ความรู้ และ ความร่วมมือได้มากขึ้น และ มีการให้กำลังใจ และ สนับสนุนให้ผู้ป่วยเขาใจว่า ร่างกาย นั้นจะมีการเปลี่ยนแปลง  

กำหนดกิจวัตรประจำวันให้เหมาะสม  

เมื่อเรานั้นเริ่มสังเกตอาการณ์ของผู้ป่วยอัลไซเมอร์ โดยหลัก ๆ ที่ควรทำนั้นคนที่ดูแลนั้น จะต้องมีการดูแล ให้มีความพร้อม โดยหลัก ๆ นั้นเราควรที่จะดูแลเบื้องต้นดังนี้ 

  • จดรายการกิจประจำวัน หรือ ประจำสัปดาห์ เพื่อเตือน ความจำ และ ให้ผู้ป่วยทบทวนได้ด้วยตนเอง  
  • กำหนดรูปแบบกิจวัตรให้เหมือน  ๆ กันทุกเวลา ให้มีความตรงเวลา ไม่เปลี่ยนไป เปลี่ยนมาเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความสับสน  
  • จัดสภาพแวดล้อมใน้บานให้มีความเหมาะสม ให้ปลอดภัย และ ไม่ควรที่จะปรับเปลี่ยนบ่อย ๆ  
  • ดูแลช่วยเหลือ ให้ผู้ป่วยนั้นได้ออกกำลังกายได้ตามสมควร เพื่อเพิ่มกำลัง และ ทำให้สุขภาพของผู้ป่วยนั้นดีขึ้น  
  • กรณีที่ผู้ป่วย ยังไม่รุนแรงมากขึ้น อาจจะชวยให้ผู้ป่วยเล่นเกมต่าง ๆ เช่นเกมคอมพิวเตอร์ คิดเลข หรือ ชวนสวดมนต์ ไหว้พระด้วยกัน หลักเลี่ยงการกระตุ้น หรือ พยายามฝืนผู้ป่วยมากเกินไป เพราะว่าอาจจะทำให้ผู้ป่วยเกิดการต่อต้านและเบื่อหน่าย  

ปฏิบัติตามคำแนะของแพทย์  

การปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์เองก็มีผลด้วยเช่นกัน เพื่อให้การรักษาได้ผลที่ดีขึ้นอย่างมาก บันทึกพฤติกรรม และ แจ้งแพทย์ให้ทราบเมื่อถึงเวลานัด  การเฝ้าดูแลนั้นมีความสำคัญอย่างมาก เพราะว่าเมื่อมีการใช้ยานั้นอาจจะส่งผลต่อผู้ป่วยอย่างมากด้วยเช่นกัน เช่น นอนไม่หลับ ก้าวร้าว วิตกกังวล  

ดังนั้นจะเห็นว่าเรื่องของ “อัลไซเมอร์” นั้นมีความสำคัญอย่างมากด้วยเช่นกัน การเฝ้าสังเกต และ เรื่องความเข้าใจเองก็มีความสำคัญอย่างมากด้วยเช่นกัน ดังนั้นอัลไซเมอร์ นั้นจึงเป็นอีกหนึ่งในโรคที่ไม่ควรที่จะมองข้ามด้วยเช่นกัน